Past Perfect Tense
โครงสร้าง : Subject + had + verb 3
( ประธาน + had + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had gone. ( เขาได้ไปแล้ว )
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense
ให้มีความหมายเชิงปฏิเสธให้เติม not หลัง Verb to have
ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Subject + had + not + Verb 3
( ประธาน + had + not + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had not (hadn’t ) gone. ( เขายังไม่ได้ไป )
2. She had not studied Thai. ( หล่อนยังไม่ได้เรียนภาษาไทย )
3 ประโยค Past Perfect Tense เชิงคำถามและการตอบ
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense ให้มีความหมายเชิงคำถามให้นำ Verb to have มาวางไว้หน้าประโยคและตอบด้วย Yes หรือ No ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Had + Subject + Verb 3 ?
(Had + ประธาน + กริยาช่อง 3 ? )
ตัวอย่าง : 1. Had he gone ? ( เขาได้ไปแล้วใช่หรือไม่ )
-Yes, he had. ( ใช่เขาได้ไปแล้ว )
-No, he hadn’t. ( ไม่เขายังไม่ได้ไป )
2. Had she studied Thai ? ( หล่อนได้เรียนภาษาไทยแล้วใช่หรือไม่ )
- Yes, she had. ( ใช่หล่อนได้เรียนแล้ว )
- No, she hadn’t. ( ไม่ หล่อนยังไม่ได้เรียน )
โครงสร้าง : Subject + had + not + Verb 3
( ประธาน + had + not + กริยาช่อง 3 )
ตัวอย่าง : 1. He had not (hadn’t ) gone. ( เขายังไม่ได้ไป )
2. She had not studied Thai. ( หล่อนยังไม่ได้เรียนภาษาไทย )
3 ประโยค Past Perfect Tense เชิงคำถามและการตอบ
เมื่อต้องการแต่งประโยค Past Perfect Tense ให้มีความหมายเชิงคำถามให้นำ Verb to have มาวางไว้หน้าประโยคและตอบด้วย Yes หรือ No ซึ่งมีโครงสร้างดังนี้
โครงสร้าง : Had + Subject + Verb 3 ?
(Had + ประธาน + กริยาช่อง 3 ? )
ตัวอย่าง : 1. Had he gone ? ( เขาได้ไปแล้วใช่หรือไม่ )
-Yes, he had. ( ใช่เขาได้ไปแล้ว )
-No, he hadn’t. ( ไม่เขายังไม่ได้ไป )
2. Had she studied Thai ? ( หล่อนได้เรียนภาษาไทยแล้วใช่หรือไม่ )
- Yes, she had. ( ใช่หล่อนได้เรียนแล้ว )
- No, she hadn’t. ( ไม่ หล่อนยังไม่ได้เรียน )
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น